วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558



ชื่อเรื่องวิจัย                        การขยายตัวและการปรับปรุงหน่วยราชการ กรมตำรวจ : ศึกษาเฉพาะการบริหารงานกองโยธาธิการ 
                                            สำนักงานส่งกำลังบำรุง
เลขทะเบียน                        61
ชื่อผู้วิจัย                               พันตำรวจเอกจิระ สุทธิศรีสังข์
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2535
สถาบันวิจัย                          สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ กองัญชาการศึกษา กรมตำรวจ

ชื่อเรื่องวิจัย            การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผล ความปลอดภัย และผลลัพธ์ทางเศรษศาสตร์ ของการบริหารยา amikacin แบบวันละครั้งกับแบบแบ่งให้วันละสองครั้ง ในผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะ febrile neutropenia
เลขทะเบียน          60
ชื่อผู้วิจัย               1. รศ.ภพ โกศลารักษ์
                                2. แพทย์หญิงสุอร ชัยนันท์สมิตย์
                                3. รศ.สรพล เวียงนนท์
                                4. ดร.จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์
                                5. อาจารย์พนิดา ธนาวิรัตนานิจ
                                6. ดร.สุพล ลิมวัฒนานนท์
                                7. ศ. ผกากรอง ลุมพิกานนท์
                                8. รศ.อรุณ เจตศรีสุภาพ
                                9. รศ.จามรี ธีรตกุลพิศาล
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2548
สถาบันวิจัย            สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
บทคัดย่อ
                การบริหาร aminoglycosides แบบวันละครั้งสามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาและมีการใช้อย่างแพร่หลายในผู้ใหญ่ อย่างไรก็ตามยังมีข้อมูลการให้ยาแบบวันละครั้งไม่มากในเด็กโรคมะเร็งที่มีใช้และมีภาวะ febrile neutropenia โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่เคยมีการศึกษาในผู้ป่วยเหล่านี้ในเด็กไทย
วัตถุประสงค์
                เพื่อศึกษาประสิทธิผล ความปลอดภัย และค่าใช้จ่ายในการรักษาภาวะไข้ในเด็กที่มีภาวะ febrile neutropenia ด้วยยา cloxacillin ร่วมกับการบริหารยา amikacin แบบวันละครั้งเทียบกับการบริหารยา amikacin แบบแบ่งให้วันละสองครั้ง และเพื่อศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของยา amikacin ในเด็กเหล่านี้
สถานที่ศึกษา:
                เป็นการศึกษาแบบ randomized controlled trial โดยผ่านหารเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยขอนแก่นเลขที่: HE44290 วันที่ 17 มกราคม 2545
สถานที่ศึกษา:
                ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่มีใช้และมีภาวะ febrile neutropenia ในระหว่างการรักษาโรคมะเร็งด้วยยาเคมีบำบัดที่เข้าเกณฑ์การศึกษาและผู้ปกครองเซ็นยินยอม จะได้รับการสุ่มเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้รับยา amikacin ขนาด 20 มก./กก./ครั้ง วันละครั้ง (ODD) และกลุ่มที่ได้รับยา  amikacin ขนาด 10 มก./กก./ครั้ง วันสองครั้ง (TDD
การวัดการตอบสนองต่อการรักษาโดยใช้อาการไข้ที่หายไปภายใน 5 วันหลังเริ่มยา นอกจากนี้ยังมีการวัดผลข้างเคียงของยา เช่น ภาวะพิษต่อได้ หู ตับ และโปแตสเซียมในเลือดต่ำ การประเมินผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ วัดผลลัพธ์สำหรับผู้ป่วยแต่ละรายที่เป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับภาวะ febrile neutropenia ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยคำนวณหาอัตราส่วนเพิ่มระหว่างค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น และประสิทธิผล (incremental cost-effectienrss ratio(ICER))
                ด้านเภสัชจลนศาสตร์จะมีการตรวจวัดระดับยา amikacin มนเลือดจำนวน 2 ครั้งหลังให้ยาไป 48 ชั่วโมงเจาะตรวจวัดระดับยาหลังให้หมด 1 และ 4 ชั่วโมง


ชื่อเรื่องวิจัย                          การดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
เลขทะเบียน                          59
ชื่อผู้วิจัย                                แพทย์หญิงนติมา ติเยาว์
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ      2549
สถาบันวิจัย                            คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์





ชื่อเรื่องวิจัย                        การวิจัยทางสังคมศาสตร์
เลขทะเบียน                        58
ชื่อผู้วิจัย                              อุดม ทุมโฆสิต
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    ม.ป.ป.
สถาบันวิจัย                          กองวิจัยและพัฒนา สำนักงานแผนงานและงบประมาณ กรมตำรวจ



ชื่อเรื่องวิจัย                        ทำเนียบโครงการวิจัยซึ่งได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปี 2542
เลขทะเบียน                       57
ชื่อผู้วิจัย                              จิรพันธ์ อรรถจินดา
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2542
สถาบันวิจัย                          กองส่งเสริมการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ 
                                             กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม




ชื่อเรื่องวิจัย                         การดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
เลขทะเบียน                        56
ชื่อผู้วิจัย                              แพทย์หญิงพิรุณี สัพโพ
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2549
สถาบันวิจัย                         กองตรวจโรคผู้ป่วย โรงพยาบาลพระมงกุฎ

ชื่อเรื่องวิจัย       ผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่มีต่อความวิตกกังวลและวิธีการเผชิญปัญหาในการฝึกปฏิบัติงาน บนหอผู้ป่วยจิตเวชของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาล กรุงเทพมหานคร
เลขทะเบียน                        55
ชื่อผู้วิจัย                              พ.ต.ท. วัลภา บูรณกลัศ
วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2535
สถาบันวิจัย                          วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ


ชื่อเรื่องวิจัย                      โรคหอบหืดจาการทำงานในคนทำงานทำกาวที่มีสารโทลูอีน

เลขทะเบียน                            54

ชื่อผู้วิจัย                                   สว่าง แสงหิรัญวัฒนา พ.บ.

วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ         2538

สถาบันวิจัย                               สำนักงานประกันสังคม                                                              

บทคัดย่อ                

                 ได้ทำการทดสอบสมรรถภาพทางปอดในคนงานผลิตกระดาษ และกาว (post it) 30 ราย เปรียบเทียบกับพนักงานในออฟฟิศในโรงงานเดี่ยวกัน 30 ราย ซึ่งมีเพศและอายุ ตลอดจนอายุการทำงานใกล้เคียงกันพบว่า ทั้ง2 กลุ่ม มีระดับ hippuric acid ในปัสสาวะอยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่วนผลการตรวจสมสรรภาพทางปอดพบว่า ในกลุ่มควบคุม 30 คน อยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่วนในกลุ่มคนงานพบว่ามีปอดเล็กลง 10% และหลอดลมขนาดเล็กอุดกั้น 20% (P<0.05)



ชื่อเรื่องวิจัย                      ความรู้ทัศนคติ พฤติกรรมและกิจกรรมในการป้องกันยาเสพติดของข้าราชการตำรวจและครอบครัว

เลขทะเบียน                     53
ชื่อผู้วิจัย                        พ.ต.อ.หญิง วัลภา                 บูรณกลัศ               ผู้วิจัยหลัก                                    

                                       พ.ต.ท.หญิง ทัศนีย์               พจน์ปฏิญญา          ผู้วิจัยร่วม                                     

                                      พ.ต.ท.หญิง สุรีย์วรรณ         ภูริปัญญาคุณ          ผู้วิจัยร่วม                                     

                                      พ.ต.ท.หญิง อร่ามศรี             เกสจินดา               ผู้วิจัยร่วม                                     

                                      พ.ต.ท.หญิง สุรัมภา               รอดมณี                 ผู้วิจัยร่วม                                     

                                     พ.ต.ท.หญิง กานดามณี        พานแสง                 ผู้วิจัยร่วม                           

                                     พ.ต.ต.หยิง ดร. เอื้อญาติ      ชุชื่น                        ผู้วิจัยร่วม

                                     พ.ต.อ.หญิง ดร. ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล                 ผู้วิจัยร่วม

วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2546

สถาบันวิจัย                     สำนักงานแพทย์ใหญ่ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ                                                    

บทคัดย่อ               

                  งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมและกิจกรรมในการป้องกันยาเสพติดของข้าราชการและครอบครัว กลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้ คือ ข้าราชการตำรวจและครอบครัวในแฟลตตำรวจทุ่งสองห้อง จำนวน 298 คนโยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมที่ใช้ป้องกันการติดยาเสพติดที่ผุ้วิจัยสร้างขึ้นและตรวจสอบคุณภาพแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ชื่อเรื่องวิจัย                        ปัจจัยที่มีผลต่อภาวการณ์มีบุตรยาก

เลขทะเบียน                       52

ชื่อผู้วิจัย                             ร้อยตำรวจเอกหญิง ศุภลักษณ์ เหลี่ยมวรางกูร

วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2540

สถาบันวิจัย                       สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์                                                       

บทคัดย่อ                

                     วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเรื่องนี้ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะการมีบุตรยาก ได้แก่ อายุ อายุแรกสมรส รายได้ อาชีพ ระดับการศึกษา การดื่มสุรา กาแฟ การสูบบุหรี่ ความเครียด ความถี่ในการร่วมเพส ระยะเวลาและวีการในการคุมกำเนิด ตลอดจนศึกษาลักษณะสภาพเศรษฐกิจและสังคม ของผู้มีบุตรยาก                ประชากรที่อยู่ในขอบเขตของการวิจัยคือ ผู้รับบริหารตรวจรักษา ณ คลินิกผู้มีบุตรยากโรงพยาบาลตำรวจ ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างของการวิจัยแบบเจาะจง (purposive sampling) และสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indept Interview) โดยเลือกสัมภาษณ์คู่สมรสที่ให้ความร่วมมือในการสัมภาษณ์ และมารับการบริการในระหว่าง วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ถึง 15 มีนาคม 2541 จำนวน 15 คู่ รว่มกับการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสา



ชื่อเรื่องวิจัย                       อุบัติการณ์เด็กข่มขืนกระทำชำเราของโรงพยาบาลตำรวจ

เลขทะเบียน                      51

ชื่อผู้วิจัย                             พ.ต.อ.หญิงจันทนา วิธวาศิริ                                               

                                                พ.ต.อ.หญิงปรีดา สมุทระประกูต                                                

                                                พ.ต.อ. ชัยยะ ศรอำพล                                                

                                                พ.ต.อ. อรรณพล มณฑามะระ                                                

                                                พ.ต.อ. สิทธิเดช แสงศิรินาวิน

วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ    2538

สถาบันวิจัย                     สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ


ชื่อเรื่องวิจัย                       บรรณานุกรมรายงานการวิจัยโรคเอดส์ในประเทศไทย

เลขทะเบียน                      50

ชื่อผู้วิจัย                           ศาสตราจารย์นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย

วันเดือนปีที่ทำวิจัยสำเร็จ     2538

สถาบันวิจัย                      สำนักนโยบายและแผนอุดมศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัย โครงการโรคเอดส์ สภากาชาดไทย